ยินดีต้อนรับเข้าสู่ เว็บไซต์ องค์การบริหารส่วนตำบลโชคนาสาม 044069954

 
 วิสัยทัศน์
 ยุทธศาสตร์
 ตราสัญลักษณ์
 แผนพัฒนาตำบล
 แผนอัตรากำลัง 3 ปี
 แผนยุทธศาสตร์การศึกษา
 รายงานผลตรวจสอบจาก สตง./ป.ป.ช./ป.ป.ท./สถ.
 รายงานการประเมินประสิทธิภาพของ อปท. (LPA)
 โครงสร้างองค์กร
 อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล
 รายงานผลการประชุมการทบทวนข้อบัญญัติของ อบต.โชคนาสาม
 ประมวลจริยธรรมข้าราชการท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น และสมาชิกสภาท้องถิ่น
 เกร็ดความรู้ ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
 รายงานผลการทบทวน ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรือยกเลิกภารกิจ
 หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการติดตั้งป้ายโฆษณา
 การบริหารจัดการลดพลังงาน
 ข้อมูลการติดต่อ
 นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
 
 
 อำนาจหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบล
 สำนักปลัด อบต.
 กองคลัง
 กองช่าง
 กองการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
 หน่วยตรวจสอบภายใน
 
 
  คณะผู้บริหาร
  ผู้บริหารฝ่ายข้าราชการประจำ
  สมาชิกสภาอบต.
  หัวหน้าส่วนราชการ
  สำนักปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล
  กองคลัง
  กองช่าง
  กองการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  หน่วยตรวจสอบภายใน
  งานกู้ชีพ กู้ภัย
 
 
รายงานกิจการสภา
ประกาศ
ข่าวประชาสัมพันธ์
คู่มือประชาชน
ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงาน
ศูนย์ดำรงธรรม
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
เบี้ยผู้สูงอายุ
อปพร.
สถานที่สำคัญ
ผลิตภัณฑ์ตำบล
มุมอาเซียน
ข่าวเด่น
จดหมายข่าว
ศูนย์ข้อมูลข่าวสาร
แบบสอบถามความพึงพอใจ
วีดีทัศน์
ภาพกิจกรรม
ผลิตภัณฑ์ตำบล
ผลงานเด่น
สถานที่สำคัญ
หนังสือราชการ สถ.
หนังสือราชการ สถ.จ.
 
 การบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับป้ายโฆษณาบนทางสาธารณะ
 ผลการจัดซื้อจัดจ้าง
 รายงานการประชุมสภา
 เกร็ดความรู้ ภาษีป้าย
 กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
  แผนยุทธศาสตร์
  แผนพัฒนาสี่ปี
  แผนการขับเคลื่อนหน่วยงาน
  แผนดำเนินงานประจำปี
  รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงาน รอบ 6 เดือน
  รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
  มาตรฐานการปฏิบัติงาน
  แผนอัตรากำลัง
 สภาพทั่วไป
 สภาพทางสังคม
 สาธารณูปโภค
 แผนพัฒนาการศึกษา
 แผนปฏิบัตการประจำปีการศึกษา
 แผนดำเนินงาน
 ติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา
 แผนปฏิบัติการป้องกันปละปราบปรามทุจริต
 รายงานผลแผนปราบปรามการทุจริต
 รายงานผลการดำเนินงานประจำปี
 รายงานการกำกับติดตามการดำเนินงานในรอบ 6 เดือน
 แนะนำการชำระภาษี
 
 
  ข้อบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปี
  แผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
  รายงานการกำกับติดตามการใช้จ่ายงบประมาณ รอบ 6 เดือน
  รายงานผลการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี
 
แผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุ
ประกาศจัดซื้อจัดจ้าง
ผลประกาศการจัดซื้อจัดจ้าง
สรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุรายเดือน
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี
รายงานผลการจัดซื้อจัดจ้าง
ราคากลางจัดซื้อจัดจ้าง
แผนปฏิบัติการจัดซื้อจัดจ้าง
ประกาศผู้เสนอราคา
 แผนจัดหาพัสดุ
 รายงานงบการเงิน
 
เจตจำนงสุจริตของผู้บริหาร
การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร
 
นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล
การดำเนินการตามนโยบายการบริหาร ทรัพยากรบุคคล
หลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลประจำปี
  รับฟังความเห็นงานด้านทรัพยากรบุคคล
 
แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริต
ข้อมูลเชิงสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตประจำปี
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
รายงานการการกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตรอบ 6 เดือน
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี
  ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริต
 
การประเมินความเสี่ยงการทุจริตประจำปี
การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต
 รายงานผลการดำเนินงานจากระบบ e-planNCC
 
แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริตประจำปี
รายงานการกำกับติดตามการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปีรอบ 6 เดือน
รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี
 ควบคุมภายใน
 ประกาศใช้แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต
 การดำเนินการตามมาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน
 นโยบายไม่รับของขวัญ (์No Gift Policy)
 การมีส่วนร่วมของผู้บริหาร
 มาตรการป้องกันการทุจริต
 รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy
 
พ.ร.บ./พ.ร.ก.
กฎกระทรวง/ระเบียบฯ
ระเบียบกฏหมายอื่นๆ
 
การเสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กร
 การขับเคลื่อนจริยธรรม
 
ข้อมูลเชิงสถิติการให้บริการ
มาตรฐานการให้บริการ
รายงานผลการสำรวจความพึงพอใจการให้บริการ
 คู่มือหรือมาตรฐานการฏิบัติงาน
 คู่มือหรือมาตรฐานการให้บริการ
 งานส่งเสริมกีฬา และนันทนาการ
 งานส่งเสริมกีฬา และนันทนาการ
 รายงานความพึงพอใจขององค์การบริหารส่วนตำบลโชคนาสาม
 การดำเนินการตามมาตรการป้องกันการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับป้ายโฆษณา
 
 
แบบสำรวจความคิดเห็น
ท่านต้องการให้ อบต.พัฒนาในส่วนใดมากที่สุด
ไฟฟ้า
ถนน
น้ำประปา
บริการประชาชน
แหล่งน้ำเพื่อการเกษตร
การศึกษา
 
 
 
  54.81.185.66    
 
อำนาจหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบล
_______________________________________________________________________________________________________
อำนาจหน้าที่องค์การบริหารส่วนตำบล
 

อำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ได้กำหนดให้องค์การบริหารส่วนตำบลมี อำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม[1] ภารกิจหน้าที่ขององค์การบริหาร ส่วนตำบลจึงมีขอบข่ายงานที่กว้างขวางอีกทั้ง พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2542 กำหนดให้องค์การบริหารส่วนตำบลมีหน้าที่ต้องทำในเขต อบต. ดังต่อไปนี้[2]

(1) จัดให้มีและบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก

(2) รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทั้งกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล

(3) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ

(4) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

(5) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

(6) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ

(7) คุ้มครอง ดูแล และบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

(8) บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่นตามความ จำเป็นและสมควร

(9) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมายโดยจัดสรรงบประมาณหรือบุคลากรให้ตามความ จำเป็นและสมควร

นอกจากนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลอาจจัดทำกิจการในเขต อบต. ดังต่อไปนี้[3]

(1) ให้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตร

(2) ให้มีและบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น

(3) ให้มีและบำรุงรักษาทางระบายน้ำ

(4) ให้มีและบำรุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ

(5) ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจการสหกรณ์

(6) ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว

(7) บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร

(8) การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน

(9) หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนตำบล

(10) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม

(11) กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์

(12) การท่องเที่ยว

(13) การผังเมือง

อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลตามที่ได้กล่าวมาข้างต้นนั้น ไม่เป็นการตัดอำนาจหน้าที่ ของกระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ ในอันที่จะดำเนินกิจการใด ๆ เพื่อ ประโยชน์ของประชาชนในตำบล แต่ต้องแจ้งให้องค์การบริหารส่วนตำบลทราบล่วงหน้าตามสมควร

ในกรณีนี้หากองค์การบริหารส่วนตำบลมีความเห็นเกี่ยวกับการดำเนินกิจการดังกล่าว ให้กระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ นำความเห็นขององค์การบริหารส่วนตำบลไป ประกอบการพิจารณาดำเนินกิจการนั้นด้วย[4] เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้องค์การบริหารส่วนตำบลมีสิทธิได้รับทราบ ข้อมูลและข่าวสารจากทางราชการในเรื่องที่เกี่ยวกับการดำเนินกิจการของทางราชการในตำบล เว้น แต่ข้อมูลหรือข่าวสารที่ทางราชการถือว่าเป็นความลับเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงแห่งชาติ[5] องค์การบริหารส่วนตำบลอาจออกข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล เพื่อใช้บังคับในเขตองค์การ บริหารส่วนตำบลได้เท่าที่ไม่ขัดต่อกฎหมายหรืออำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ในการนี้ จะกำหนดค่าธรรมเนียมที่จะเรียกเก็บและกำหนดโทษปรับผู้ฝ่าฝืนด้วยก็ได้ แต่มิให้กำหนดโทษปรับ เกินหนึ่งพันบาท เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น[6] ในส่วนของการบริหารงานนั้น องค์การบริหารส่วนตำบลมีการจัดแบ่งการบริหารงานออกเป็น สำนักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล และส่วนต่าง ๆ ที่องค์การบริหารส่วนตำบลได้ตั้งขึ้น โดยมี พนักงานส่วนตำบลเป็นเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงาน และองค์การบริหารส่วนตำบลสามารถขอให้ข้าราชการ พนักงาน หรือลูกจ้างของหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยการบริหารราชการ ส่วนท้องถิ่น ไปดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติงานขององค์การบริหารส่วนตำบลชั่วคราวได้โดยไม่ขาดจาก ต้นสังกัดเดิม โดยให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้มีอำนาจอนุญาตได้ตามความจำเป็น และในกรณีที่เป็น ข้าราชการซึ่งไม่อยู่ในอำนาจของผู้ว่าราชการจังหวัด ให้กระทรวงมหาดไทยทำความตกลงกับ หน่วยงานต้นสังกัดก่อนแต่งตั้ง นอกจากนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลอาจทำกิจการนอกเขตองค์การบริหารส่วนตำบลหรือร่วมกับ สภาตำบล องค์การบริหารส่วนตำบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือหน่วยการบริหารราชการส่วน ท้องถิ่นอื่น เพื่อกระทำกิจการร่วมกันได้ ทั้งนี้ เมื่อได้รับความยินยอมจากสภาตำบลองค์การบริหาร ส่วนตำบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง และ กิจการนั้นเป็นกิจการที่จำเป็นต้องทำและเป็นการเกี่ยวเนื่องกับกิจการที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของตน

อำนาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ได้กำหนดให้รัฐต้องกระจายอำนาจให้กับองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งในฐานะที่องค์การบริหารส่วนตำบลเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบ หนึ่ง รัฐก็ต้องกระจายอำนาจให้กับองค์การบริหารส่วนตำบล โดยได้มีการกำหนดไว้ใน พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 ซึ่งพระราชบัญญัติดังกล่าวได้กำหนดให้องค์การบริหารส่วนตำบล มีอำนาจและหน้าที่ในการ จัดระบบการบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนใน ท้องถิ่นของตนเองดังนี้[8]

(1) การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นของตนเอง

(2) การจัดให้มีและบำรุงรักษาทางบก ทางน้ำ และทางระบายน้ำ

(3) การจัดให้มีและควบคุมตลาด ท่าเทียบเรือ ท่าข้าม และที่จอดรถ

(4) การสาธารณูปโภคและการก่อสร้างอื่น ๆ

(5) การสาธารณูปการ

(6) การส่งเสริม การฝึก และการประกอบอาชีพ

(7) การพาณิชย์ และการส่งเสริมการลงทุน

(8) การส่งเสริมการท่องเที่ยว

(9) การจัดการศึกษา

(10) การสังคมสงเคราะห์ และการพัฒนาคุณภาพชีวิตเด็ก สตรี คนชรา และผู้ด้อยโอกาส

(11) การบำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น

(12) การปรับปรุงแหล่งชุมชนแออัดและการจัดการเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย

(13) การจัดให้มีและบำรุงรักษาสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ

(14) การส่งเสริมกีฬา

(15) การส่งเสริมประชาธิปไตย ความเสมอภาค และสิทธิเสรีภาพของ ประชาชน

(16) ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของราษฎรในการพัฒนาท้องถิ่น

(17) การรักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง

(18) การกำจัดมูลฝอย สิ่งปฏิกูล และน้ำเสีย

(19) การสาธารณสุข การอนามัยครอบครัว และการรักษาพยาบาล

(20) การจัดให้มีและควบคุมสุสานและฌาปนสถาน

(21) การควบคุมการเลี้ยงสัตว์

(22) การจัดให้มีและควบคุมการฆ่าสัตว์

(23) การรักษาความปลอดภัย ความเป็นระเบียบเรียบร้อย และการอนามัย โรงมหรสพ และ สาธารณสถานอื่นๆ

(24) การจัดการ การบำรุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม

(25) การผังเมือง

(26) การขนส่งและการวิศวกรรมจราจร

(27) การดูแลรักษาที่สาธารณะ

(28) การควบคุมอาคาร

(29) การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

(30) การรักษาความสงบเรียบร้อย การส่งเสริมและสนับสนุนการป้องกัน และรักษาความปลอดภัยใน ชีวิตและทรัพย์สิน

(31) กิจการอื่นใดที่เป็นผลประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามที่ คณะกรรมการประกาศกำหนด

 
 
 
 
 
 วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2567 เป็นวันที่ระลึกพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย  อบต.โชคนาสาม
วันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2567 เป็นวันที่ระลึกพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย อบต.โชคนาสาม "กิจกรรมจิตอาสาพัฒนา เนื่องในวันสำคัญของชาติไทย" พัฒนา ศาสนสถาน
 
ภาพลงพื้นที่ RE-X-RAY โครงการถังขยะเปียกลดโลกร้อน
ภาพลงพื้นที่ RE-X-RAY โครงการถังขยะเปียกลดโลกร้อน
 
โครงการแข่งขันกีฬาสีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
โครงการแข่งขันกีฬาสีศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
 
             
 
 
วัดบ้านพยุงสุข หรือ วัดอภิรักษ์สุขวนาราม            วัดในพระพุทธศาสนาที่มีความสำคัญในฐานะเป็นแหล่งศึกษาพระธรรม เป็นที่พึ่งทางใจ  เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและประเพณีของตำบลโชคนาสาม
วัดบ้านพยุงสุข หรือ วัดอภิรักษ์สุขวนาราม วัดในพระพุทธศาสนาที่มีความสำคัญในฐานะเป็นแหล่งศึกษาพระธรรม เป็นที่พึ่งทางใจ เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและประเพณีของตำบลโชคนาสาม
 
วัดสามราษฎร์นุกูล  (วัดบ้านตาเดาะ) วัดในพระพุทธศาสนาที่มีความสำคัญในฐานะเป็นแหล่งศึกษาพระธรรม เป็นที่พึ่งทางใจ  เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและประเพณีของตำบลโชคนาสาม
วัดสามราษฎร์นุกูล (วัดบ้านตาเดาะ) วัดในพระพุทธศาสนาที่มีความสำคัญในฐานะเป็นแหล่งศึกษาพระธรรม เป็นที่พึ่งทางใจ เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและประเพณีของตำบลโชคนาสาม
 
วัดบ้านตะเพรา (วัดกิตติพัฒนวนาราม) วัดในพระพุทธศาสนาที่มีความสำคัญในฐานะเป็นแหล่งศึกษาพระธรรม เป็นที่พึ่งทางใจ เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและประเพณีของตำบลโชคนาสาม
วัดบ้านตะเพรา (วัดกิตติพัฒนวนาราม) วัดในพระพุทธศาสนาที่มีความสำคัญในฐานะเป็นแหล่งศึกษาพระธรรม เป็นที่พึ่งทางใจ เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมและประเพณีของตำบลโชคนาสาม
 
ผลิตภัณฑ์ OTOP
ผลิตภัณฑ์ OTOP
 
 
 
โทรศัพท์ / โทรสาร 0-4406-9954 E-mail : 6320504@dla.go.th

การแสดงผลบนหน้าเว็บไซต์จะสมบูรณ์ที่สุดในระบบ Google Chrome, Mozilla Firefox, Microsoft Internet Explorer 8 ขึ้นไป
สงวนลิขสิทธิ์ © โดย
MediaCreativeCenter 08-7776-6615
 
  หน้าแรก  I  สถานที่สำคัญ  I  ผลิตภัณฑ์ตำบล  I  กระดานสนทนา  I  แผนผังเว็บไซต์  I  ติดต่ออบต.